การประยุกต์ใช้ GIS ในงานสาธารณสุข

ประเด็นการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข

►การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
§การกระจายของการตาย
§การกระจายของการป่วย
§การกระจายของอุบัติเหตุ อุบัติภัย
§การกระจายของปัจจัยเสี่ยง
§การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับ ผลลัพธ์สุขภาพ
►การวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ
§การกระจายของทรัพยากรสุขภาพ
§การกระจายของสมรรถนะบริการสุขภาพ
§การวิเคราะห์การเข้าถึงบริการ
 
วิธีการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข

1.1.การวิเคราะห์การกระจายทางภูมิศาสตร์ของข้อมูลด้านสาธารณสุข ที่สัมพันธ์กับพื้นที่ขอบเขตการปกครอง / การบริหาร / ภูมิศาสตร์
§ข้อมูลระดับภาค ระดับเขต (polygon กลุ่มจังหวัด ทั้งประเทศ)
§ข้อมูลระดับจังหวัด (polygon หรือ point (centroid) จังหวัด ทั้งประเทศ หรือของแต่ละ ภาค เขต)
§ข้อมูลระดับอำเภอ (polygon หรือ point (centroid) อำเภอ ทั้งประเทศ หรือของแต่ละ ภาค เขต จังหวัด)
§ข้อมูลระดับตำบล (polygon หรือ point (centroid) ตำบล ทั้งประเทศ หรือของแต่ละ ภาค เขต จังหวัด อำเภอ)

การแสดงผลข้อมูล
การแสดงข้อมูล
-Graduated color (สีของพื้นที่)
 (polygon)
-Graduated symbol (ขนาดและสีของจุด)
 (point หรือ ตำแหน่ง centroid ของ polygon)
-Dot density (จำนวนจุด, ตำแหน่งจุด random)
 (polygon)
-Chart (แนวโน้ม (bar), สัดส่วน (pie))
 (polygon หรือ point)

การวิเคราะห์ระดับจังหวัด
การวิเคราะห์จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อระดับจังหวัด
การแสดงข้อมูล Dot density
 (จำนวน cases 100 ราย = 1 จุด)
 (ตำแหน่งของจุด เป็นตำแหน่งสมมติ)
การวิเคราะห์ระดับจังหวัด
การวิเคราะห์อัตราป่วยโรคติดต่อระดับจังหวัด
การแสดงข้อมูล
Dot density
 (อัตราป่วยต่อแสนประชากร
 10 ต่อแสนประชากร = 1 จุด)
 (ตำแหน่งของจุด เป็นตำแหน่งสมมติ)
การวิเคราะห์ระดับอำเภอ
การวิเคราะห์อัตราตายระดับอำเภอ
การแสดงข้อมูล
Graduated color
 (อัตราตายต่อแสนประชากร)
 
การวิเคราะห์ขั้นสูง
การแปลงข้อมูลให้เป็นข้อมูลต่อเนื่อง (interpolation) จากข้อมูลแบบ vector เป็น raster
การวิเคราะห์การเข้าถึงบริการของหมู่บ้านโดยใช้ buffer ของสถานพยาบาล
การวิเคราะห์จุดที่เป็นจุดศูนย์กลาง (mean center, central feature) และ standard distance จากศูนย์กลาง
การวิเคราะห์การเกาะกลุ่มของข้อมูล (cluster analysis, spatial autocorrelation) และ hot spot , cold spot